Donnerstag, 27. Dezember 2007


ความเป็นมาของการก่อตั้งกลุ่มไทยช่วยเหลือตนเองเมืองเวือร์ซบวร์ก

เนื่องจากลุ่มไทยช่วยเหลือตนเองได้ริเริ่มตั้งลุ่มกันเมื่อปี 2539 อย่างเป็นทางการ มีการพบปะ สังสรรค์กันอย่างต่อเนื่อง คือ พบปะกัน เดือน ละ 2 ครั้ง คืออาทิตย์แรก และอาทิตย์ที่ 3 ของเดือน โดยมี อาสาสมัครอิสระ หลายท่านเสนอตัวเข้าร่วมงานลุ่มฯ โดยไม่หวัง ค่าตอบ แทน แต่อย่างใด และเสนอเป็นวิทยากรสอนแม่บ้านหรือคนที่สนใจในด้านต่างๆ ซึ่งก็แล้วแต่ความสามารถของวิทยากรแต่ละคน เช่นสอนงาน ด้าน ฝีมือ การประดิษฐ์ของชำร่วย การสอนรำไทยแก่เด็ก การเต้นรำลีลาศ การสอนภาษาไทย แก่เด็กและคนเยอรมันนอกจากนั้นยังมีการ ให้คแนะ นำและปรึกษาในด้านหมาย เช่นกหมายครอบครัว หมายมรดก ข้อปฏิบัติเมื่อสามีชาวเยอรมันเสียชีวิตหรือช่วยติดต่อกับ ทางสถาน กง สุลในด้านเกี่ยวกับเอกสารต่างๆ ช่วยติดต่อแนะงานที่เหมาะสมแก่หญิงไทย ช่วยเหลือคนยในรายที่มีปัญหาฉุกเฉินชีวิตคู่ และยังมีปัญหา ปลีกย่อยอีกมาก ที่ต้องหาทางคลี่คลายช่วยเหลือ ซึ่งเป็นผลดีให้คนไทยได้มาพบปะสังสรรค์แลกเปลี่ยน ความรู้ประสการณ์ ความสามารถ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และเป็นการส่งเสริม ให้คนยได้มีบทบาทและศักยภาพ การปรับ ตัวให้ เข้ากับสังคม เยอรมันดีขึ้น การพบปะกันนี้เรียกกันง่ายๆว่า สภากาแฟ เพราะเป็น การพบปะที่ทุกคนที่มาจะนำอาหาร เครื่องดื่ม ขนม ของขบ เคี้ยวมาร่วมรับ ประทานด้วยกันพูดคุยแบบญาติพี่น้อง ซึ่งก็เป็นแหล่งนัดพบที่หลายคนยอมรับ แม้คนไทยที่มาใหม่ก็สามารถได้เรียนรู้นำไป เป็นแบบ อย่าง ต่อการดำรงชีวิตที่ยู่ที่นี่ได้อย่างมีความสุข ปัจจุบันเริ่มแต่ปี2545มี สมาชิก ที่มาพบปะประจำและสม่ำเสมอครั้งละประมาณ 20-50 คน โดย จะมีการส่งข่าวนัดพบ เป็นจด หมายเวียนสามเดือนครั้ง และมีการพบปะกันเดือนละ1 ครั้งในอาทิตย์แรกของเดือน ด้วยว่าวิทยากรต่างก็มีภาระ หน้าที่ในครอบครัว ส่วนในการส่งจดหมายเวียนแต่ละครั้งก็รวมทั้งสิ้น 180 คน ซึ่งต้องใช้เงินในการจ่ายต่างๆเช่น แสตมป์ ซอง ค่าซีล็อก เป็น จำนวนมาก และยังมีการจักทัศนาจรไปเที่ยว เช่นเหมารถไปทอดผ้าป่าตามวัดต่างๆ และจัดตั้งค่าย ครอบครัวหรือตั้งแค้ป์ในทุกๆปีปรากฏ ว่า มีผู้เข้าร่วมกิจกมมากเกินคาด ลุ่มฯจึงเห็นพ้องว่า จะดำรงการรวมกลุ่มและการพบปะกันไปอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าด้านทุนทรัพย์ไม่พอก็ตาม

จุดประสงค์ของการตั้งกลุ่ม

1, เพื่อรวมกลุ่มนไทย แสดงถึงความสามัคคีเอื้อเฟื้อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

2, เพื่อส่งเสริมเผยพร่ความรู้นด้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์นการใช้ชีวิตในเยอรมัน

3, เพื่อเสริมสร้างให้หญิงไทยมีศักยภาพในการปรับตัวให้เข้ากับสังคมเยอรมัน

4, เพื่อเปิดโอกาสให้หญิงไทยได้มาพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และปัญหาซึ่งกันและกัน

5, เพื่อส่งเสริมความรู้และทักษะในด้านอาชีพเพื่อเป็นการเพิ่มโอกาสในการหารายได้

กลุ่มเป้าหมาย

คือหญิงไทย –เด็กไทย และหญิง-ชายชาวเยอรมันที่มีความสนใจประเทศไทย ที่พำนักในเขตเมืองเวือร์ซบวร์กและย่านใกล้เคียง

กิจกรรมของกลุ่มฯตั้งแต่ปี 2005 –ปัจจุบัน พบปะเดือนละ 1 ครั้ง

1 ส่งเสริมด้านทักษะความรู้ เช่นอบรมการเรียนเต้นรำลีลาศ,รำไทย, อบรมและให้ความรู้เรื่องกฎหมายคนต่างด้าว สอนโยคะเพื่อสุขภาพ

2 ส่งเสริมอาชีพ สอนทำอาหาร,สอนทำดอกไม้และการตกแต่ง,สอนการแกะสลักผักผลไม้ และจัดให้มีตลาดนัด-ขายอาหาร 1 ครั้งต่อเดือน

3 จัดตั้งค่ายครอบครัวในช่วงปิดเทอมฤดูร้อน จัดแลกเปลี่ยนหมุนเวียนกันตามเมืองที่ติดต่อกันได้ และมีการแข่งขันกีฬาสามัคคี

สนใจร่วมงานหรือเข้าร่วมพบปะสังสรรค์ติดต่อได้ที่ บาหยัน ไวกันด์ Scheffelstr10a, 97209 Veitshöchheim,( 0173- 3069406 หรือ 0931-960771หรือเข้าร่วมพบปะได้ที่ Gehörlosenverein Würzburg,Mergentheimerstr.13,97082 Würzburg hinter Tennisclub Weiss Blau ในวันอาทิตย์แรกของเดือน ตั้งแต่ 10.00-18.00.ช่วงหน้าร้อนงด ตั้งแต่เดือนสิงหาคม-กันยายน นัดครั้งต่อไปอาทิตย์แรกของทุกๆอาทิตย์แรกของเดือน

หากท่านใดต้องการสนับสนุนกลุ่มไทยช่วยเหลือตนเอง จะสมัครเป็นสมาชิก10.00 ออยโร ต่อปี โดยจะได้รับข่าวสาร เป็นจดหมายเวียน 6 เดือน 1 ครั้ง,และสามารถไปขายอาหารหรือสิ่งของในวันพบปะ หรือ จะบริจาคเป็นเงินได้ที่ Konto Thai SHG 841165855 Sparkasse Mainfranken (BLZ 79050000 ) หรือจะบริจาคเป็นอากรแสตมป์ก็ยินดียิ่งค่ะ


Die Selbsthilfegruppe Thailändischer Frauen, kurz Thai SHG wurde 1996, also vor nunmehr 11 Jahren gegründet, um Thailänderinnen, die in Würzburg und Umgebung leben, Hilfe und Informationen zu bieten. Dies ist auch von Nöten, weil selbst Frauen, die schon seit Jahren in Deutschland leben oft noch große Probleme mit der Sprache haben oder mit dem für sie fremden kulturellen Umfeld nicht zurecht kommen. Kulturschock, das ist für viele von ihnen nicht nur ein Schlagwort, sondern Realität, deren Überwindung im Alltage viele Jahre dauern kann.

Die Thai SHG versucht hier unter die Arme zu greifen und neben ersten Hilfen beim Erlernen der Sprache und auch bei konkret auftretenden Problemen des Alltags zu beraten und zu helfen.

Unsere Ziele

1) Unsere Thailändische Kultur in Deutschland zu zeigen und darüber zu erzählen.

2) Bei unseren Treffen beraten wir auch in Behördenangelegenheiten aller Art.

3) Wir versuchen in gemischten Ehen Verständnis für die Kultur des anderen zu wecken und Probleme die durch die verschiedene Kultur und Mentalität entstehen zulösen.

4) Wir wollen zusammenkommen um unsere Erfahrungen auszutauschen und uns gegenseitig zu helfen.

5) Wir möchten Frauen und Kindern Möglichkeiten für eine sinnvolle Freizeitgestaltung aufzeigen.

Die Thai SHG soll ein Treffpunkt sein für die Thailändische und Deutsche Kultur, ein Ort um sich kennen zu lernen, klärende und anregende Gespräche zu führen oder auch um neue Freundschaften zu knüpfen.

Die Thai SHG will auch Thailänderinnen und Thailändern ein Stückchen,Heimat, Verstän dnis und Geborgenheit in Deutschland vermitteln.

Wer interessiert ist, Mitglied unsere Gruppe zu werden, ist jederzeit herzlich willkommen. Unsere Treffen finden jeden 1. Sonntag im Monat im Bootshaus Gehörlosenverein Mergentheimerstr.13,97082 Würzburg,Hinter Tennisclub Weiss Blau

statt und zwar meistens von 10.00 -18.00 Uhr.

Weitere Informationen zur Thai SHG erhalten Sie bei Frau Bayan Waigand, Scheffelstr.10a, 97209 Veitshöchheim, ( 0931-960771 oder 0173-3069406

Mitgliedsbeitrag: 10.- € pro Jahr (entfällt bei sozialer Bedürftigkeit).

Konto der Thai SHG: 841165855 bei der Sparkasse Mainfranken (BLZ 79050000)

Wir freuen uns auch über eine Spende und bedanken uns dafür im Voraus.


ประมวลรูปไปทัศนศึกษาของกลุ่ม เมื่อฤดูร้อน ปี 2005 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส


1 Kommentar:

namemaru hat gesagt…

สวัสดีค่ะ เป็นเว็บที่มีประโยชน์มากมาย
จะแวะเข้ามาศึกษาข้อมูลอีกนะคะ เพราะว่า ตอนนี้ กำลังสับสนกับงานและการเรียนรู้ประสบการณ์หลังเพิ่งเรียนจบ หัดปรับตัวกับระบบราชการไทยอยู่

ได้รู้มาว่าหลายๆ คนน้อยใจ หรือท้อแท้กับระบบราชการแบบไทยเรา

แต่หนูก็ยังอยากรู้เกี่ยวกับประสบการณ์จากการทำงานที่อื่นๆ ว่ามีความเหมือนหรือต่างกันยังไง

ด้วยความเคารพอย่างสูงค่ะ

feva_arale@hotmail.com